สถานการณ์โควิด-19 วันที่ 23 ตุลาคม 2563 พบผู้ติดเชื้อเพิ่ม 8 ราย เข้าพักสถานที่กักกันที่รัฐจัดให้ (State Quarantine)

สถานการณ์โควิด-19 วันที่ 23 ตุลาคม 2563 พบผู้ติดเชื้อเพิ่ม 8 ราย เข้าพักสถานที่กักกันที่รัฐจัดให้ (State Quarantine)

วันที่ 22 ตุลาคม 2563 เวลา 11.00 ศูนย์บริหารสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 (โควิด-19) หรือศบค.ได้เสนอข้อมูลสถานการณ์โควิด-19 ในประเทศไทย ซึ่งในวันนี้พบผู้ติดเชื้อเพิ่ม 8 ราย เป็นผู้ที่เดินทางมาจากต่างประเทศเข้าพักสถานที่กักกันที่รัฐจัดให้ (State Quarantine)

สำหรับรายละเอียดของผู้ป่วยรายใหม่ 8 ราย มีดังนี้

 เป็นผู้เดินทางมาจากต่างประเทศสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ 1 ราย, ซูดานใต้ 1 ราย,อิหร่าน 1 ราย,สวิตเวอร์แลนด์ 2 ราย,บาห์เรน 2 รายและสหราชอาณาจักร 1 ราย เข้าพักสถานที่กักกันที่รัฐจัดให้ (State Quarantine)
ในภาพอาจจะมี ข้อความพูดว่า "ศนย์ข้อมล COVID-19 ผู้ป่วยรายใหม่ในวันนี้ COVID-19 ในประเทศไทย ข้อมูลวันที่ 23 ตุลาคม 2563 กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข ผู้ป่วยยืนยันสะสม หายป่วยแล้ว +8 คน เสียชีวิต 3,727 คน ติดเชื้อ ในประเทศ 0 สถานที กักกัน ที่รัฐจัดให้ 8 3,518 คน ติดเชื้อ ในประเทศ 2,450 สถานที่ กักกัน ที่รัฐจัดให้ 780 59 คน ร้อยละ ผู้ป่วย รักษาอยู่ 150 New Cases เพิ่มขึ้น 0 ประวัติเสี่ยง 94.39 ร้อยละ 1.58 ผู้ที่เดินทางมาจากต่างประเทศ และเข้า State Quarantine จาก สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ ราย ซูดานใต้ ราย อิหร่าน ราย สวิตเซอร์แลนด์ 2 ราย บาห์เรน 2 ราย สหราชอาณาจักร ราย 8 ราย จำนผู้ปยนันจำนทามพ้ท่กา(รา) กรุงเทพฯ และนนทบุรี 2,041 รวม ราย ภาคเหนือ 107 ภาคกลาง 723 สรูปสถานการณ์ศู ศูนย์ข้อมูล COVID- ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 112 ภาคใต้ 744 ศูนย์ข้อมูล COVID-19 สายด่วน 1111"

 

 

HATYAITODAYNEWS

อ้างอิงข้อมูลจาก : ศูนย์ข้อมูล COVID-19

ทั้งนี้ท่านสามารถติดตามรายงานสถานการณ์โควิด-19 ได้ในแบบเรียลไทม์

 

Next Post

จังหวัดสงขลาประกาศแจ้งเตือน ชาวประมงเตรียมพร้อมรับสถานการณ์อุทกภัย ด้านการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ

Fri Oct 23 , 2020
จังหวัดสงขลาประกาศแจ้งเตือน ชาวประมงเตรียมพร้อมรับสถานการณ์อุทกภัย ด้านการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ จังหวัดสงขลาประกาศเตือนในช่วงฤดูฝนเกษตรกรผู้เลี้ยงสัตว์น้ำควรมีแนวทางปฏิบัติ  เพื่อลดความสูญเสียจากอุทกภัยด้านการประมง   ดังนี้ ศึกษาข้อมูลในปีที่ผ่านมาว่า พื้นที่ใดน้ำเคยท่วม   และติดตามรับฟังพยากรณ์อากาศ หากเป็นพื้นที่ลุ่มน้ำท่วมขังได้ง่าย  ควรเสริมคันบ่อให้สูงขึ้น ควรเตรียมมุ้งเขียวล้อมรอบคันบ่อ  ป้องกันปลาหนีช่วงน้ำท่วม กรณีคาดว่า  จะไม่สามารถป้องกันน้ำท่วมได้  ให้คัดปลาที่มีขนาดใหญ่จำหน่ายไปก่อน  หรือรีบจับสัตว์น้ำจำหน่ายโดยเร็ว  แม้สัตว์น้ำจะยังเจริญเติบโตไม่เต็มที่  ก็ทำให้มีรายได้ตอบแทนคืนมาเป็นบางส่วน กรณีเลี้ยงปลาในกระชังในแหล่งน้ำธรรมชาติ เช่น  แม่น้ำ  ให้ย้ายปลาในกระชัง  ไปแหล่งที่ปลอดภัย เกษตรกรควรขอขึ้นทะเบียนผู้เลี้ยงสัตว์น้ำ  เพื่อประโยชน์ในการขอรับความช่วยเหลือเมื่อประสบอุทกภัย  โดยต้องขึ้นทะเบียนก่อนที่ประสบอุทกภัยเท่านั้น  กรณีเลี้ยงปลาในกระชังในแหล่งน้ำธรรมชาติ   ต้องขออนุญาตผ่านประมงอำเภอ  นายอำเภอ  ประมงจังหวัด  และอธิบดีกรมประมง  เมื่อได้รับอนุญาตจึงจะสามารถขึ้นทะเบียนได้    หากยังไม่ได้รับอนุญาต  ไม่สามารถขึ้นทะเบียนได้  เมื่อได้รับความเสียหาย  ทางราชการไม่สามารถช่วยเหลือได้ ควรบันทึกข้อมูลการเลี้ยงสัตว์น้ำในสมุดประจำฟาร์ม  เพื่อทราบผลผลิต   ต้นทุน/รายจ่ายในการเลี้ยง  เพื่อเป็นข้อมูลให้ทางราชการกรณีขอรับความช่วยเหลือเมื่อประสบอุทกภัย  หากไม่เกิดภัย  สามารถใช้เป็นข้อมูลในการเลี้ยงปลาในรุ่นต่อไปได้ การป้องกันเป็นสิ่งดีที่สุด  หากทราบว่า  พื้นที่ใดมีอัตราการเสี่ยงในการเกิดน้ำท่วมสูงเป็น ประจำทุกปี  การเลี้ยงปลาควรวางแผนให้สามารถจับผลผลิตได้ในช่วงเวลาก่อนที่น้ำจะท่วม     […]
จังหวัดสงขลาประกาศแจ้งเตือน ชาวประมงเตรียมพร้อมรับสถานการณ์อุทกภัย ด้านการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ